วันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555



บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่4


-อาจารย์ได้สอนเรื่องขอบข่ายคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (นิตยา ประพฤติกิจ 2547 หน้า 17-19)  ดังต่อไปนี้

1.การนับ  (Counting)  การนับต้องการจะรู้
2.ตัวเลข    (Number)   สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่แทนค่าจำนวน แทนค่าลำดับ
3.การจับคู่ (Matching) จับคู่ เข้าคู่กัน
4.การจัดประเภท (Classification) จัดประเภทมีการกำหนดเกณฑ์
5.การเปรียบเทียบ (Comparing)  มากกว่า น้อยกว่า
6.การจัดลำดับ  (Ordering)
7.รูปทรงและเนื้อที่  (Shape and Space)
8.การวัด (Measurement) ความยาว และระยะ
9.เซต  (Set)  การจัดกลุ่ม การสัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง
10.เศษส่วน (Faction) ทั้งหมด ส่วน ครึ่ง 2ส่วนเท่ากัน
11.การทำแบบหรือลวดลาย  (Pattering) 
12.การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ (Conservation)

-อาจารย์เปิดขอบข่ายของ( เยาวพา เดชะคุปต์) (2542 หน้า 87-88) ได้กล่าวดังนี้
1.การจัดกลุ่มเซต  จับคู่  สอนเรื่องการลบ
2.จำนวน 1-10 การนับ 1-10 จำนวนคู่ จำนวนคี่
3.ระบบจำนวนจริง  (Number System ) 
4.ความสัมพันธ์ระหว่างเซต 
5.คุณสมบัติจาการรวมกลุ่ม
6.ลำดับที่
7.การวัด (Measurement)
8.รูปทรงเรขาคณิต
9.สถิติและกราฟ

-อาจารย์ให้การบ้าน ให้นักศึกษาจับคู่ ช่วยกันคิดการจัดประสบการณ์ให้เด็กเรื่องอะไร สอดคล้องกับตัวเลข













วันจันทร์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555


บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่3


-ทบทวนงานที่อาจารย์มอบหมายให้อาทิตย์ที่แล้วสรุปประมวลให้เป็นกลุ่มของเรา

-ความหมายของคณิตศาสตร์  (คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่ว่าด้วยการคำนวณ เน้นในเรื่องของการคิด  ความเข้าใจจากกิจกรรม ประสบการณ์ และของจริง และสาธิตโดยจัดให้มีความสัมพันธ์กัน และคำนึงถึงที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน

-ขอบข่ายของเนื้อหา   (แนวคิดเกี่ยวกับการสอนคณิต   หลักสูตร และการใช้หลักสุตร วิธีสอน และเทคนิคการสอน การเตรียมการสอน การสอนคณิตแก่เด็กปฐมวัย การสอนการนับจำนวนตัวเลข)

-หลักการสอนคณิต  (ในการสอนอย่างเป็นระบบนั้น  ผู้สอนมีภาระกิจสำคัญที่ต้องปฏิบัติอย่างเป็นขั้นตอน คือ กำหนดผลที่คาดหวังจากกระบวนการ วินิจฉัย  กำหนดจุดประสงค์การเรียนการสอน  เนื้อหา สาระ สื่อการสอนวิธีการสอน)




สมาชิกในกลุ่ม
  น.ส.ภณิดา   เกลาเกลี้ยง
น.ส.ชฎารัตน์   ยาเขียว
      น.ส.วรรณพร  จินดาพรหม
น.ส.ปัทมา  ห้องงแซง














วันศุกร์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555



บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่2


-วันที่21 พฤศจิกายน  เข้าประชุม








-อาจารย์แจกกระดาษให้คนละ1แผ่น  พร้อมทั้งเขียนชื่อของตัวเอง  และวาดรูปเป็นสัญลักษณ์ของแต่ละคน  อาจารย์ให้คนที่มาก่อน08.30 น.  ออกมาติดกระดาษที่เขียนชื่อหน้าห้อง ติดหน้ากระดาน  
 อาจารย์ได้ถามนักศึกษาว่าที่เอากระดาษมาติดนั้นได้ได้อะไรจากคณิตศาสตร์บ้าง 
1.นับจำนวน     2.รูปร่าง   3.ขนาด     4.การจำแนกประเภท    5.รูปทรง    6.จำนวน    
7.ได้รู้จักตัวเลขฮินดูอารบิก

การนับ   คือ  การนับเรียงลำดับให้รู้ค่าของจำนวน

การนับมี2แบบ  คือ

การนับเพิ่ม    เป็นพื้นฐานของการบวก
การนับลด      เป็นพื้นฐานของการลบ

การสอนในเรื่องของการนับต้องให้เด็กรู้จักชื่อของการนับเสียก่อน   อย่างเช่น

เลข1 = เสาธง         เลขที่4=เรือใบ            เลขที่7=ไม้เท้า
เลข2=ตัวห่าน         เลขที่5=แอปเปิ้ล         เลขที่8=ไข่สองฟอง
เลข3=ตัวหนอน      เลขที่6=หัวชี้เท้า          เลขที่9=คนยืนตัวตรง

-อาจารย์ให้การบ้านไปทำ4ข้อ

ข้อที่1ให้นักศึกษาไปดูหนังงสือเกี่ยวกับคณิตศาสตร์อย่างน้อย5เล่ม โดยบอก ชื่อหนังสือ  ปีพ.ศ. ชื่อผู้แต่ง

ข้อที่2หาทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์มีอะไรบ้าง  พร้อมทั้งอ้างอิงบุคคลที่เขียนทฤษฎีนั้น 

ข้อ3ขอบข่ายเนื้อหาคณิตศาสตร์

ข้อ4หลักการสอนคณิตศาสตร์


วันจันทร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555



บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่1

-อาจารย์ปฐมนิเทศน์เรื่อง การแต่งกาย เสื้อผ้า หน้า ผม
-ห้ามนักศึกษาใส่ชุดพละ นอกจากมีเหตุจำเป็นที่จะต้องใส่  และห้ามนักศึกษาใส่เสื้อกันหนาวมาเรียน
-เวลาเข้าเรียน 09.00 น. ถ้าสายสายนอกจากนั้น  ถือว่าขาด
-นักศึกษาจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรมไม่อย่างนั้นจะไม่ได้ฝึกสอน
-อาจารย์ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการทำบล็อก  อาจารย์จะตรวจบล็อกทุกวันศุกร์

-อาจารย์แจกกระดาษให้นะฃักศึกษา คนละ1แผ่น พร้อมทั้งให้เขียน
1. คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยคืออะไร  
ทำไมปฐมวัยไมาใช้คำว่าสอน แต่ใช้คำว่าการจัดประสบการณ์
การสอน คือ สอนแต่ทฤษฎี  คาดหวังได้ทุกคน

การสอน   - กระบวนการ   - วัตถุประสงค์   -  มีขั้นตอน

การจัดประสบการณ์ คือ เราไม่ได้คาดหวังได้ทุกคน มีความแตกต่างระหว่างบุคคล

การจัดประสบการณ์   - วิธีการแตกต่าง

2. คาดหวังการเรียนรู้

การจัดประสบการณ์ มี6 กิจกรรมหลัก คือ 

- กิจกรรมเสรี                              -  การเคลื่อนไหว เข้าจังหวะ
-เกมส์การศึกษา                         -  ศิลปะสร้างสรรค์
-กิจกรรมเสริมประสบการณ์      -กิจกรมกลางแจ้ง

การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 

เด็กปฐมวัย
็-พัฒนาการ = สติปัญญา (เพียเจย์  บรูเนอร์ )

1. ทฤษฎี แรกเกิด - 2ปี
-ชอบหยิบของเข้าปาก
-สนใจสิ่งรอบข้าง
-มองตามเงา ตามเสียง
2. 2-4ปี
-พัฒนาการทางด้านของภาษา
3.  4-6 ปี
- การใช้เหตุผล
-สื่อที่ดีที่สุด  คือ  ของจริง  ของเล่น

(การอนุรักษ์ คือ  เด็กตอบตามเหตุผล ตอบตามที่ตาเห็น)

-วิธีการเรียนรู้ของเด็ก
1.ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5
2.การให้อิสระในการเลือกและตัดสินใจ