วันเสาร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2556



สรุปวิจัย

เรื่อง  ผลการจัดประสบการณ์แบบโครงการที่มีต่อความสามารถทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

ปริญญานิพนธ์
อำพวรรณ์   เนียมคำ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ


เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
-ความหมายของความสามารถทางคณิตศาสตร์
-ความสำคัญ
-จุดมุ่งหมาย
-แนวความคิด และเนื้อหาเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
-การพัฒนาความสามารถทางคณิตศาสตร์ระดับปฐมวัย
-การประเมินผลการพัฒนาความสามารถทางคณิตศาสตร์
-งานวิจัยเกี่ยวข้องกับความสามารถทางคณิตศาสตร์


1.ความหมายทางคณิตศาสตร์  คือการเตรียมความพร้อม  เรื่องของการสังเกต การเปรียบเทียบรูปร่าง  น้ำหนัก  ขนาด  สิ่งที่เหมือนกันแตกต่างกัน  ความยาว 
2.ความสำคัญ  คือ ความสามารถทางคณิตศาสตร์เป็นทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์  ช่วยให้เด็กมีความพร้อมที่จะเรียนคณิตศาสตร์เบื้องต้น ได้แก่ การสังเกต  การเปรียบเทียบ การแยกหมู่  การรวมหมู่  การเพิ่ม -การลดจำนวน เพื่อให้เด็กเข้าใจทางคณิตศาสตร์โดยการปฏิบัติมากกว่าเรียนเนื้อหาทางทฤษฎี
3.จุดมุ่งหมาย ในที่นี้ดิฉันขอยกมาหนึ่งท่านที่ได้กล่าวไว้
 (เยาวพา เดชะยุปต์ ) ได้กล่าวไว้ว่า
-ความคิดรวบรวมในเรื่องคณิตศาสตร์
-ความสามารถแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
-ทักษะวิธีการในการคิดคำนวณ
-สร้างบรรยากาศในการคิดอย่างสร้างสรรค์
-ส่งเสริมเป็นเอกัตบุคคลในตัวเด็ก
4.แนวคิดและเนื้อหาเกี่ยวกับความสามารถทางคณิตศาสตร์ ในที่นี้ขอยกมาหนึ่งท่านที่ได้กล่าวแนวคิด (ประกายรัตน์  ภัทรธิติ)
 อายุ3-4ปี
-ขนาด  สามารถเปรียบเทียบ ขนาดใหญ่-เล็ก  หนา-บาง
-สีที่เห็นเด่นชัด  แดง  น้ำเงิน  เหลือง  ดำ  ขาว
-น้ำหนัก  หนัก-เบา
-สัดส่วน  ผอม-อ้วน 
-จำนวน  มาก-น้อย
-ตัวเลข   สามารถ0-3ได้
-ตำแหน่ง  หน้า-หลัง   บน-ล่าง
อายุ4-5ปี
-เปรียบเทียบสิ่งของ3สิ่่ง ที่มีขนาดต่างกันได้
-รู้จักการผสมสี  สีอ่อน  สีเข้ม
-สามารถนับ  0-5ได้
5.การพัฒนาความสามารถทางคณิตศาสตร์ระดับปฐมวัยศึกษา   
สรุปได้ว่า การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งถือว่า เป็นทักษะทีช่วยพัฒนาสติปัญญา และความคิดนั้นเกิดจาก ที่เด็กได้มีโอกาสปะทะสังสรรค์กับสิ่งแวดล้อม  การจัดประสบการณ์ ง่ายไปยาก คือเริ่มจากจริงแล้วไปสู่ของจำลองสัญลักษณ์  และสิ่งที่เป็นนามธรรม และจะต้องสอดคล้องกับพัฒนาการวุฒิภาวะ ลักษณะของเด็ก
6.การประเมินผลการพัฒนาความสามารถทางคณิตศาสตร์
พฤติกรรมและความสามารถ
1.นับเลข 1-30 ได้
2.รู้ค่าจำนวน
3.ชี้และบอกรูปทรงเรขาคณิตง่ายๆ  สามเหลี่ยม  วงกลม  สี่เหลี่ยม
วิธีการประเมิน
1.สังเกตจากการให้เด็กเรียงลำดับ1-30
2.แทนค่าตามตัวเลข
3.สังเกตชี้และบอกรูปทรง











วันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่15

-อาจารย์นัดสอบปลายภาควันอังคาร  ที่26  กุมภาพันธ์    2556    เวลา 10โมง เช้า
-ลิงค์งานวิจัย  มหาวิทยาลัยศิลปากรได้  ห้ามซ้ำกัน  หาวิจัยมา5เรื่อง  สรุปใส่บล็อกมาด้วย
-ทำไมเราไม่สอนเนื้อหากับเด็ก(เพราะการเอาเนื้อหามันไม่สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้)
-ทำวิธีการอย่างไร(กระบวนการสัมผัสทั้ง5  เด็กตอบครูควรจดบันทึก )

-นำเสนอแผนการเรียนการสอนที่ยังค้างอยู่
กลุ่มที่1  หน่วยไข่

กลุ่มที่2  หน่วยไข่
กลุ่มที่3    หน่วยโรงเรียนของเรา
-วันจันทร์     นักเรียนในห้องนี้มากี่คนขาดกี่คน
-วันอังคาร     ความสูงของอาคารเรียน
-วันพุธ            นิทาน
-วันพฤหัสบดี   การแต่งกาย

-วันนี้กลุ่มดิฉันนำเสนอหน่วยน้ำ
-วันจันทร์   มารู้จักเรื่องของน้ำ
-วันอังคาร  การเปรีบยเทียบน้ำแต่ละชนิด
-วันพุธ        นิทานเรื่องประโยชน์ของน้ำ
-วันพฤหัสบดี   โทษของน้ำ 
-วันศุกร์       การอนุรักษ์น้ำ






กลุ่มของดิฉันมีการปรับแก้แผนอาจารย์ให้ส่งวันอังคารก่อนสอบ

-เขียนประเมินอาจารย์







วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่14

-อาจารย์ให้หางานวิจัยเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ พยายามอย่าซ้ำกัน  หามาคนละ5เรื่อง
-เพื่อนนำเสนอแผนการเรียนการสอน  เรื่องสัตว์
เด็กๆช่วยครูนับสัตว์มีจำนวนเท่าไหร   ครูหยิบมาให้นักเรียนนับ


ประโยชน์ของสัตว์มีอะไรบ้าง

-อาจารย์ให้ดูผลงานการเขียนแผนการเรียนการสอนของครูโรงเรียนอนุบาลเกษมพิทยา

1.ตาราง
2.Mind Map
3.ตารางเปรียบเทียบ
4.ประโยชน์และโทษ
5.การสังเกต













ส่งงานกลุ่ม(งานที่ค้าง)  ส่งงานวงกลม









วันศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556



บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่13



          -สิ่งที่บอกทิศทาง  เพลง     นิทาน

เพลงยืนตรง

สองมือเราชูตรง                   แล้วเอามาเสมอกับบ่า
ต่อไปย้ายมาข้างหน้า          แล้วเอาลงอยู่ในทางยืนตรง

เพลงยืนให้ตัวตรง

ยืนให้ตัวตรง                           ก้มหัวลงตบมือดังแพละ
แขนขวายุไหน                        หันตัวไปทางนั้นแหละ


-เพื่อนนำเสนอแผนการสอนหน่วยบ้าน ดังนี้คือ
1.วันจันทร์  เด็กๆๆค่ะบ้านของเด็กๆมีสมาชิกกี่คน

2.วันอังคาร  ที่บ้านของเด็กๆมีใครอยู่บ้างค่ะ
3.วันพุธ       เด็กลองสร้างบ้านของเด็กๆสิค่ะ

-เพื่อนนำเสนอแผนการสอน   หน่วยผลไม้
1.เด็กๆคิดว่าในตระกร้ามีผไม้อะไรบ้าง
2.ประโยชน์ของผลไม้
3.เปรียบเทียบลักษณะผลไม้   รูปทรง   สีกลิ่น




















วันเสาร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556



บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่12

-อาจารย์ได้พูดถึงงานบายเนียร์คนละ350

-อาจารย์ให้นักศึกษาระดมความคิด(งานศักยภาพ) สร้างประสบการณ์โดยการตั้งคำถาม(ลงมือกระทำ)

-อาจารย์ได้ทบทวนอธิบายกระบวนการสอน  (งานที่อาจารย์สั่งคาบที่แล้ว)

เครื่องมือที่สามารถใช้กับเด็กได้  คือ เชือก  ไม้บรรทัด  สิ่งที่อยู่รอบตัว


บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่11

-กระบวนการเรียนรู้   
-อาจารย์ให้จับกลุ่มกลุ่มละ5คน  ทำปฎิทินการสอนในแต่ละวัน  สอนหน่วยอะไร  เกี่ยวพันกับคณิตศาสตร์อย่างไร
-อาจารย์ได้แจ้งว่าตอนเย็นมีงานปีใหม่  ให้นักศึกษาซื้อของขวัญมา  เจอกัน5โมงเย็น



บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่10

-ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจาก  ครูและนักศึกษาร่วมทำพิธีวันครู  ณห้องประชุม อาคาร2
 ตึกคณะศึกษาศาสตร์